เหรียญจังหวัดศรีสะเกษ เหรียญประจำจังหวัดศรีสะเกษ
SI SA KET THAILAND
จังหวัดศรีสะเกษ เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ลักษณะภูมิประเทศทางตอนใต้เป็นที่สูง และค่อย ๆ ลาดต่ำไปทางเหนือลงสู่ลุ่มแม่น้ำมูลซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของจังหวัด
ปัจจุบันมีเนื้อที่ 8,840 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยอำเภอ 22 อำเภอ มีประชากรราว 1.45 ล้านคน ประกอบด้วยกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย ซึ่งพูดภาษาถิ่นต่าง ๆ กัน
อาทิ ภาษาลาว (สำเนียงลาวใต้ซึ้งใช้ครอบคลุมทั้งฝั่งอุบลราชธานีและจำปาศักดิ์), ภาษากูย, ภาษาเยอ และภาษาเขมรลือ(เขมรบน) ส่วนใหญ่เป็นพุทธศาสนิกชนนับถือผีมาแต่เดิม
มีการตั้งถิ่นฐานในจังหวัดศรีสะเกษมาแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ จนเกิดพัฒนาการที่เข้มข้นในสมัยอาณาจักรขอมซึ่งได้ทิ้งมรดกทางวัฒนธรรมหลายประการไว้
เช่น ปราสาทหินและปรางค์กู่ศิลปะขอมตั้งกระจัดกระจายอยู่หลายแห่ง ครั้นในสมัยอาณาจักรอยุธยา มีการยกบ้านปราสาทสี่เหลี่ยมโคกลำดวน (บริเวณใกลๆปราสาทกุด หรือปราสาทสี่เหลียมโคกลำดวน วัดเจ็ก อำเภอขุขันธ์ ในปัจจุบัน) เป็นเมืองขุขันธ์
และในสมัยรัชกาลที่ 5 แห่งอาณาจักรรัตนโกสินทร์ได้ย้ายเมืองไปยังบริเวณตำบลเมืองเก่า (ตำบลเมืองเหนือ อำเภอเมืองศรีสะเกษ ในปัจจุบัน) แต่เรียกชื่อเมืองขุขันธ์ ตามเดิม
กระทั่งยกฐานะเป็น จังหวัดขุขันธ์ เมื่อ พ.ศ. 2459 แล้วเปลี่ยนชื่อเป็น จังหวัดศรีสะเกษ เมื่อ พ.ศ. 2481
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด
คำขวัญประจำจังหวัด : หลวงพ่อโตคู่บ้าน ถิ่นฐานปราสาทขอม ข้าว หอมกระเทียมเทียมดี มีสวนสมเด็จ เขตดงลำดวน หลากล้วนวัฒนธรรม เลิศล้ำสามัคคี
ตราประจำจังหวัด : รูปปรางค์กู่มีดอกลำดวน 6 กลีบอยู่เบื้องล่าง (เดิมใช้ภาพปราสาทหินเขาพระวิหารเป็นตราประจำจังหวัด มาเปลี่ยนเป็นตราปัจจุบันเมื่อ พ.ศ. 2512
ต้นไม้ประจำจังหวัด : ต้นลำดวน (Melodorum fruticosum)
ดอกไม้ประจำจังหวัด : ดอกลำดวน
สัตว์น้ำประจำจังหวัด : กบนา (Hoplobatrachus rugulosus)
เหรียญที่ระลึกประจำจังหวัด : ด้านหน้าภาพปราสาทสระกำแพงใหญ่ ด้านหลังภาพ ปรางค์กู่และดอกลำดวน
อาณาเขตติดต่อ
ทิศเหนือ ติดต่อกับจังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดยโสธร และจังหวัดร้อยเอ็ด
ทิศตะวันออก ติดต่อกับจังหวัดอุบลราชธานี
ทิศใต้ ติดต่อกับประเทศกัมพูชา
ทิศตะวันตก ติดต่อกับจังหวัดสุรินทร์และจังหวัดร้อยเอ็ด
การปกครองส่วนภูมิภาค
จังหวัดศรีสะเกษแบ่งการปกครองเป็น 2,557 หมู่บ้าน
206 ตำบล 22 อำเภอ
ได้แก่
1 อำเภอเมืองศรีสะเกษ
2 อำเภอยางชุมน้อย
3 อำเภอกันทรารมย์
4 อำเภอกันทรลักษ์
5 อำเภอขุขันธ์
6 อำเภอไพรบึง
7 อำเภอปรางค์กู่
8 อำเภอขุนหาญ
9 อำเภอราษีไศล
10 อำเภออุทุมพรพิสัย
11 อำเภอบึงบูรพ์
12 อำเภอห้วยทับทัน
13 อำเภอโนนคูณ
14 อำเภอศรีรัตนะ
15 อำเภอน้ำเกลี้ยง
16 อำเภอวังหิน
17 อำเภอภูสิงห์
18 อำเภอเมืองจันทร์
19 อำเภอเบญจลักษ์
20 อำเภอพยุห์
21 อำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ
22 อำเภอศิลาลาด
(ข้อมูล วิกิพีเดีย)
จังหวัดศรีสะเกษ เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ลักษณะภูมิประเทศทางตอนใต้เป็นที่สูง และค่อย ๆ ลาดต่ำไปทางเหนือลงสู่ลุ่มแม่น้ำมูลซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของจังหวัด
ปัจจุบันมีเนื้อที่ 8,840 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยอำเภอ 22 อำเภอ มีประชากรราว 1.45 ล้านคน ประกอบด้วยกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย ซึ่งพูดภาษาถิ่นต่าง ๆ กัน
อาทิ ภาษาลาว (สำเนียงลาวใต้ซึ้งใช้ครอบคลุมทั้งฝั่งอุบลราชธานีและจำปาศักดิ์), ภาษากูย, ภาษาเยอ และภาษาเขมรลือ(เขมรบน) ส่วนใหญ่เป็นพุทธศาสนิกชนนับถือผีมาแต่เดิม
มีการตั้งถิ่นฐานในจังหวัดศรีสะเกษมาแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ จนเกิดพัฒนาการที่เข้มข้นในสมัยอาณาจักรขอมซึ่งได้ทิ้งมรดกทางวัฒนธรรมหลายประการไว้
เช่น ปราสาทหินและปรางค์กู่ศิลปะขอมตั้งกระจัดกระจายอยู่หลายแห่ง ครั้นในสมัยอาณาจักรอยุธยา มีการยกบ้านปราสาทสี่เหลี่ยมโคกลำดวน (บริเวณใกลๆปราสาทกุด หรือปราสาทสี่เหลียมโคกลำดวน วัดเจ็ก อำเภอขุขันธ์ ในปัจจุบัน) เป็นเมืองขุขันธ์
และในสมัยรัชกาลที่ 5 แห่งอาณาจักรรัตนโกสินทร์ได้ย้ายเมืองไปยังบริเวณตำบลเมืองเก่า (ตำบลเมืองเหนือ อำเภอเมืองศรีสะเกษ ในปัจจุบัน) แต่เรียกชื่อเมืองขุขันธ์ ตามเดิม
กระทั่งยกฐานะเป็น จังหวัดขุขันธ์ เมื่อ พ.ศ. 2459 แล้วเปลี่ยนชื่อเป็น จังหวัดศรีสะเกษ เมื่อ พ.ศ. 2481
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด
คำขวัญประจำจังหวัด : หลวงพ่อโตคู่บ้าน ถิ่นฐานปราสาทขอม ข้าว หอมกระเทียมเทียมดี มีสวนสมเด็จ เขตดงลำดวน หลากล้วนวัฒนธรรม เลิศล้ำสามัคคี
ตราประจำจังหวัด : รูปปรางค์กู่มีดอกลำดวน 6 กลีบอยู่เบื้องล่าง (เดิมใช้ภาพปราสาทหินเขาพระวิหารเป็นตราประจำจังหวัด มาเปลี่ยนเป็นตราปัจจุบันเมื่อ พ.ศ. 2512
ต้นไม้ประจำจังหวัด : ต้นลำดวน (Melodorum fruticosum)
ดอกไม้ประจำจังหวัด : ดอกลำดวน
สัตว์น้ำประจำจังหวัด : กบนา (Hoplobatrachus rugulosus)
เหรียญที่ระลึกประจำจังหวัด : ด้านหน้าภาพปราสาทสระกำแพงใหญ่ ด้านหลังภาพ ปรางค์กู่และดอกลำดวน
อาณาเขตติดต่อ
ทิศเหนือ ติดต่อกับจังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดยโสธร และจังหวัดร้อยเอ็ด
ทิศตะวันออก ติดต่อกับจังหวัดอุบลราชธานี
ทิศใต้ ติดต่อกับประเทศกัมพูชา
ทิศตะวันตก ติดต่อกับจังหวัดสุรินทร์และจังหวัดร้อยเอ็ด
การปกครองส่วนภูมิภาค
จังหวัดศรีสะเกษแบ่งการปกครองเป็น 2,557 หมู่บ้าน
206 ตำบล 22 อำเภอ
ได้แก่
1 อำเภอเมืองศรีสะเกษ
2 อำเภอยางชุมน้อย
3 อำเภอกันทรารมย์
4 อำเภอกันทรลักษ์
5 อำเภอขุขันธ์
6 อำเภอไพรบึง
7 อำเภอปรางค์กู่
8 อำเภอขุนหาญ
9 อำเภอราษีไศล
10 อำเภออุทุมพรพิสัย
11 อำเภอบึงบูรพ์
12 อำเภอห้วยทับทัน
13 อำเภอโนนคูณ
14 อำเภอศรีรัตนะ
15 อำเภอน้ำเกลี้ยง
16 อำเภอวังหิน
17 อำเภอภูสิงห์
18 อำเภอเมืองจันทร์
19 อำเภอเบญจลักษ์
20 อำเภอพยุห์
21 อำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ
22 อำเภอศิลาลาด
(ข้อมูล วิกิพีเดีย)
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น